THE GREATEST GUIDE TO น้ำท่วมเชียงราย 2567

The Greatest Guide To น้ำท่วมเชียงราย 2567

The Greatest Guide To น้ำท่วมเชียงราย 2567

Blog Article

ให้นำองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมและสิ่งของที่จำเป็นไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รวมถึงทำงานด้านการฟื้นฟูพื้นที่หลังน้ำลด

มาตรการส่งเสริมคุณธรรมเเละความโปร่งใสภายในกรมประชาสัมพันธ์

“เราขาดข้อมูลทั้งจากเมียนมา ลาว และจีน ซึ่งเราก็ไม่ได้รู้ล่วงหน้าว่า [เขื่อน] จะปล่อยเท่าไหร่ การขอความร่วมมือ กว่าจะส่งจดหมายไป กว่าจะเอฟเฟกต์มาถึงท้ายน้ำก็ใช้เวลาหลายวัน เราขาดข้อมูลกับน้ำนานาชาติ และความร่วมมือเรื่องน้ำกับประเทศเพื่อนบ้านก็ไม่ค่อยมี”

ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จังหวัดริมแม่น้ำโขง เตรียมความพร้อมรับมือสถานการณ์น้ำล้นตลิ่งและท่วมขังบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำริมแม่น้ำโขงและริมลำน้ำบางสาขาที่ไม่สามารถระบายน้ำลงสู่แม่น้ำโขงได้โดยสะดวก และประชาสัมพันธ์สถานการณ์น้ำในแม่น้ำโขงและแจ้งเตือนให้ประชาชนทราบล่วงหน้า

แม่สาย จ.เชียงราย น้ำก็มาเป็นปริมาณมากแล้วจนกลายเป็นน้ำทุ่ง ซึ่งเป็นลักษณะของน้ำที่ไม่มีหน่วยงานที่สามารถพยากรณ์ได้

สภาสูงบูลลี่กันฉ่ำ! เฟ้น กมธ.ไม่ลงตัวถูกเสียงข้างมากเขี่ยหลุด

รับการแจ้งเตือนเมื่อมีความก้าวหน้า

น้ำท่วมถนน อันตรายสำหรับผู้ขับขี่ยานพาหนะ โดยเฉพาะในช่วงที่น้ำไม่สามารถระบายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดการกระทบเป็นวงกว้างต่อบ้านเรือน ชุมชน และผู้ที่ใช้ถนน การทำความเข้าใจถึงความเสี่ยงและหาวิธีรับมือ จึงถือเป็นหนึ่งเรื่องสำคัญสำหรับประชาชน

ส่วนตลอดทั้งคืนที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่และหน่วยงานต่าง ๆ ยังคงให้การช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมอย่างต่อเนื่อง โดยประชาชนบางส่วนต้องเดินลุยน้ำออกมาขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่เนื่องจากไฟฟ้า ถูกตัด และไม่สามารถติดตามข่าวสารได้

รู้แล้วกลุ่มป่วนใต้ บุกปล้นปืน - เผาบ้านพัก จนท.ป่าไม้ "ฮาลาบาลา"

ภาพจาก น้ำท่วมเชียงราย 2567 : กิจกรรมนักศึกษา มธ.ศูนย์ลำปาง ทั้งนี้ ขอเน้นย้ำกับพี่น้องประชาชนที่ต้องการบริจาคทั้งกำลังเงินและสิ่งของ โปรดตรวจสอบแหล่งรับบริจาคต่าง ๆ ให้รอบคอบ เนื่องจากสถาการณ์ปัจจุบันมีกลุ่มมิจฉาชีพ ซึ่งไม่หวังดีหากินกับผู้ประสบภัยโดยการหลอกลวงด้วยกลอุบายต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก.

จากสถานการณ์น้ำท่วมใน จ.เชียงราย และเชียงใหม่ รอบเดือน ก.ย. ศิรินันต์ มองว่า แม้ทุกหน่วยงานทำข้อมูลทางเทคนิคไว้ดี แต่สิ่งที่ขาดไปคือ การจำลองสถานการณ์ของภัยพิบัติในะระดับพื้นที่ และการแปลงข้อมูลการเตือนภัยจากแหล่งทางการ ให้เป็นข้อความเตือนภัยในระดับที่คนทั่วไปสามารถเข้าใจได้

“ศูนย์พักพิง ต้องไปพักที่ไหน พัก ๆ ไปแล้วน้ำเข้าอีก มันดูไม่มีอะไรที่จัดการล่วงหน้า เหมือนกับว่าในระดับจังหวัดเอง เราก็ไม่ได้ซ้อมแผนภัยพิบัติจริง ๆ ไม่ต้องนับไปถึงว่าเป็นภัยข้ามจังหวัดหรือภัยข้ามประเทศ สมมติว่าน้ำท่วม เราไม่รู้ด้วยซ้ำว่าจะอพยพไปตรงไหน ศูนย์พักพิงอยู่ตรงไหนเราไม่รู้นะ”

เรื่องนี้มีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ ว่าทำไมเราจึงถูก "หมูเด้ง" ตกเข้าด้อม

Report this page